Ahad, 4 November 2012

MENGUGURKAN KANDUNGAN DARI SEGI SUDUT AGAMA ADALAH BERDOSA




Sekarang ini isu membuang anak semakin jenuh diperkatakan. Masyarakat tanpa mengira kaum dan agama sedang menghadapi masalah yang sama; remaja melakukan seks bebas, mengandung anak luar nikah dan apabila masalah timbul, tidak berani memberitahu ibu bapa.  Walaupun jalan keluar lain masih ada, tetapi menggugurkan kandungan merupakan pilihan pertama. Jika tidak menggugurkan kandungan, setelah lahir, bayi dibuang.

Pembuangan bayi sebenarnya tidak sebanyak menggugurkan kandungan. Namun, kerana menggugurkan kandungan dilakukan secara diam-diam, orang ramai tidak tahu, maka perkara tersebut kurang jadi buah mulut orang. Berbeza dengan membuang bayi yang selalu terpapar di dada akhbar, dalam sekelip mata tersebar ke seluruh negara. 

Perbuatan membuang bayi bukan setakat dosa, bahkan sangat kejam. Haiwan pun tidak pernah membuang anaknya. Namun, manusia yang dikatakan makhluk istimewa sanggup berbuat begitu. 

Kaedah yang terbaik ialah tidak melakukan seks bebas. Ini larangan semua agama. Akan tetapi nafsu terlalu kuat hingga tidak terkawal. Iblis pula menggoda setiap detik. Iblis ini ada di merata tempat - dalam telefon, tv, majalah, internet dan sebagainya. Akibatnya perbuatan "mendahului usia" pun berlaku. Apabila mengandung mulalah gelabah.

Ada orang berkata, kenapa membuang bayi? Kenapa tidak menggugurkan kandungan yang tidak sekejam membuang bayi? Betulkah menggugurkan kandungan tidak kejam? 

Berbicara tentang menggugurkan kandungan sebenarnya terdapat dua pihak yang pro dan kontra. Kedua-dua pihak mempunyai hujah yang munasabah mengikut pandangan masing-masing. Saya tidak berminat untuk turut berhujah bersama mereka. Namun, saya mahu memaparkan masalah ini dari sudut pandangan agama Buddha berdasarkan pendapat Than Chau Khun Phra Phrom Kunaphon (Bhikkhu P.A. Payutto)

Menggugurkan kandungan: Apakah pandangan agama Buddha?

Jika mahu dijawab, tentulah akan dijawab mengikut bukti yang terdapat dalam Kitab Tipitaka yang dapat dirumuskan bahawa perbuatan menggugurkan kandungan sama dengan membunuh seorang manusia. Ini kerana agama Buddha berpendapat bahawa "patisonthi" (mengandung) merupakan titik permulaan sebagai manusia - terdapat nyawa manusia yang wujud bersama sel kecil dalam kandungan dan kehidupan manusia akan berakhir apabila manusia mati. 

Membunuh manusia berdosa besar berbanding dengan membunuh haiwan kerana manusia makhluk mulia yang mempunyai potensi yang boleh dikembangkan ke tahap yang tiada had. Contohnya, Putera Siddharta hanya manusia biasa tetapi telah berjaya mengembangkan potensi diri menjadi Buddha. Membunuh bayi dalam kandungan sama seperti membunuh peluang seorang manusia mengembangkan potensi diri. 

Oleh sebab agama Buddha berpendapat bahawa bayi/janin dalam kandungan biarpun baru berusia sehari, dianggap sebagai manusia, maka hendak melakukan pengguguran mestilah diperhalusi dengan teliti berdasarkan situasinya. Setiap orang mesti menggunakan akal fikiran dengan bijaksana sebelum membuat keputusan menggugurkan kandungan. Perkara yang mustahak diperhalusi ialah bahawa kandungan dalam perut itu ialah seorang manusia, bukan sel atau ketulan darah atau ketulan daging semata-mata. 

.......................................................

“ทำแท้ง” พุทธศาสนามองว่าอย่างไร

ช่วงนี้มีการถกเถียงกันมากเกี่ยวกับประเด็น “ทำแท้ง” ว่าควรหรือไม่ควร โดยที่ทั้งฝ่ายเสนอ และฝ่ายคัดค้าน ต่างยกเหตุผลขึ้นมาถกเถียงกันฟังดูก็มีเหตุผลดีทั้งสองฝ่าย ฝ่ายเสนอก็บอกว่าควรออกกฎหมายอนุญาตให้ทำแท้งได้เพราะตอนนี้ก็มีการลักลอบทำ แท้งเถื่อนกันมากมาย ถึงอย่างไรก็ควบคุมกันไม่ได้อยู่แล้ว ทำไมไม่ทำให้มันถูกต้องไปเสียเลย

บางคนก็ว่าในกรณีที่ตรวจพบว่าเด็กมีโรคร้ายแรงคลอดออกมาก็ทรมานเปล่าๆ อีกไม่นานก็ตาย สู้ทำแท้งไปเลยจะได้ตัดปัญหาตั้งแต่ต้นลม ฯลฯ ฝ่ายคัดค้านก็คัดค้านอย่างจริงจัง โดยให้เหตุผลว่าการทำแท้งจะเป็นการส่งเสริมให้เด็กหนุ่มสาวมั่วเพศกันมาก ขึ้น บ้างก็ว่าเป็นการกระทำที่ไร้มนุษยธรรม สรุปว่าข้อโต้แย้งเรื่องการทำแท้งนี้ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันไม่ยุติตราบ จนกระทั่งทุกวันนี้

“ทำแท้ง” พุทธศาสนาวินิจฉัยว่าสมควร หรือไม่สมควรอย่างไร ?

ถ้าจะให้ตอบก็คงจะต้องตอบตามหลักฐานที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก ซึ่งวินิจฉัยว่า การทำแท้งเท่ากับการฆ่ามนุษย์คนหนึ่งเลยทีเดียว เพราะพุทธศาสนาถือหลักว่าการปฏิสนธิว่าคือจุดเริ่มต้นของการเกิดเป็นมนุษย์ คือมีจิตใจของมนุษย์เกิดขึ้นอยู่ในเซลล์ชีวิตเล็กๆ ที่ปฏิสนธินั้นแล้ว และภาวะแห่งความเป็นมนุษย์นี้จะสิ้นสุดก็ต่อเมื่อตายลง

อนึ่ง ในทางพุทธศาสนาท่านถือว่าการฆ่ามนุษย์นั้นบาปหนักกว่าการฆ่าสัตว์ดิรัจฉาน เพราะภาวะของมนุษย์ท่านถือว่าเป็นชีวิตอันประเสริฐที่ต่างจากสัตว์ดิรัจฉาน ทั่วไป เหตุผลคือชีวิตมนุษย์เป็นชีวิตที่มีโอกาสสามารถพัฒนาตนให้เจริญงอกงามได้ อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด ยกตัวอย่างเช่น คนธรรมดาอย่างเจ้าชายสิทธัตถะยังสามารถพัฒนาตนจนอุบัติเป็นองค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าได้เป็นต้น ดังนั้นการฆ่ามนุษย์แม้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จึงเท่ากับการตัดโอกาสของชีวิตที่ จะได้พัฒนาตนต่อไป

ในเมื่อพุทธศาสนามองว่าบุตรในครรภ์แม้วันแรกก็ถือว่าเป็นมนุษย์แล้วเช่นนี้ ในการตัดสินใจว่าการทำแท้ง สมควรหรือไม่สมควร จึงเป็นเรื่องที่ต้องวินิจฉัยเป็นกรณีๆ ไป ไม่มีคำตอบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด คือต้องใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบก่อนที่จะตัดสินใจอะไรลงไป แต่สิ่งควรจะต้องตระหนักรู้ไว้อยู่ตลอดเวลาในการที่จะตัดสินใจว่าควรหรือไม่ ควรทำแท้ง คือ ชีวิตเล็กๆ ในครรภ์นั้นได้มีภาวะของความเป็นมนุษย์เกิดขึ้นแล้ว หาใช่แค่เซลล์เล็กๆ หรือก้อนเนื้อก้อนเล็กๆ อย่างที่เคยเข้าใจ

ต่อท้าย #1 20 มี.ค. 2553, 7:31:03

หลักฐานที่มีมาในพระไตรปิฎก และอรรถกถา
เพื่อประกอบการพิจารณาเรื่อง “ทำแท้ง”

๑. พระวินัยบอกว่าฆ่ามนุษย์เป็นบาปหนักที่สุด บาปยิ่งกว่าการฆ่าสัตว์ใดๆ ภิกษุใดฆ่ามนุษย์
ถือว่าต้องอาบัติปาราชิก หมดสิทธิเป็นสมณะอีกต่อไป ดังจะยกบาลีขึ้นมาอ้างดังต่อไปนี้

โย ปน ภิกฺขุ สญฺจิจฺจ มนุสฺสวิคฺคหํ ชีวิตา โวโรเปยฺย, อยมฺปิ ปาราชิโก อสํวาโส
(วินย.๑/๑๘๐/๑๓๗)

แปลว่า ภิกษุใดจงใจพรากชีวิตมนุษย์ ภิกษุนี้เป็นปาราชิก หมดสิทธิอยู่ร่วมกับสงฆ์
(ไม่สามารถอยู่ร่วมกับภิกษุอื่นได้อีกต่อไป)

โย ภิกขุ สญฺจิจฺจ มนุสฺสวิคฺคหํ ชีวิตา โวโรเปติ อนฺตมโส คพฺภปาตนํ อุปาทาย,
อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย (วินย.๔/๑๔๔/๑๙๕)

“ภิกษุใดจงใจพรากชีวิตมนุษย์แม้แต่เพียงทำครรภ์ให้ตกไป
(ทำครรภ์ให้ตกไปหมายความว่าทำแท้งนั่นเอง) ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นศากยบุตร”

๒. ในพระสูตรบอกว่า ชีวิตมนุษย์เริ่มต้นเมื่อเกิดองค์ประกอบสามอย่าง คือ
๑) มารดาบิดาร่วมกัน
๒) มารดาไข่สุก และ
๓) มีสัตว์เข้าไปเกิด

“ภิกษุทั้งหลาย เมื่อใด มารดาบิดาร่วมกัน ๑ (มีเพศสัมพันธ์)
มารดาอยู่ในฤดู (ช่วงเวลาไข่สุก) ๑ และคันธัพพะเข้าไปตั้งอยู่แล้ว ๑ ( มีสัตว์ที่เข้าไปเกิด ) เพราะประชุมองค์ประกอบ ๓ ประการอย่างนี้ ก็มีการก้าวลงแห่งครรภ์”
(ม.มู.๑๒/๔๕๒/๔๘๗)

๓. อรรถกถาจารย์ได้อธิบายไว้ว่า ปฐมจิตเกิดขึ้นครั้งแรกพร้อมกับ อรูปขันธ์ ๓ และกลลรูป ดังนั้นตามหลักพุทธศาสนาชีวิตจึงมีองค์ประกอบขันธ์ ๕ ครบสมบูรณ์ ณ วันที่เริ่มปฏิสนธินั่นเอง

๔. กลลรูป เป็นเซลล์ขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น และจะใช้เวลานานประมาณ ๕ สัปดาห์ กว่าจะเริ่มงอกแขนขาและศีรษะ ออกมาเป็นร่างกายมนุษย์ โดยที่ขั้นตอนเจริญเติบโตกว่าที่จะงอกเป็นปุ่มปมห้าปุ่ม นี้มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปในแต่ละสัปดาห์ ดังจะขอยกอรรถาธิบายของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) มาแสดงดังต่อไปนี้
ต่อท้าย #2 20 มี.ค. 2553, 7:31:13

Tiada ulasan:

Catat Ulasan


















KETURUNAN SIAM MALAYSIA.

Walaupun saya sebagai rakyat malaysia yang berketurunan siam malaysia,saya tetap bangga saya adalah thai malaysia.Pada setiap tahun saya akan sambut perayaan di thailand iaitu hari kebesaraan raja thai serta saya memasang bendera kebangsaan gajah putih.

LinkWithin